วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การบันทึกครั้งที่ 14
วันพุธ ที่  15 ธันวาคม พ.ศ.2558
เวลา 10.00 - 13.00 น.

นิทรรศการแสดงผลงาน

จัดตกแต่งสถานที่เพื่อแสดงผลงาน




กลุ่มที่ 1 (กลุ่มดิฉัน)



กลุ่มที่ 2



กลุ่มที่ 3



ดิฉันขอขอบคุณอาจารย์เป็นอย่างยิ่ง

ที่ได้อบรมสั่งสอนพวกเรามาตลอด 1 เทอมนี้












วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การบันทึกครั้งที่ 13
วันพุธ ที่  9 ธันวาคม พ.ศ.2558
เวลา 14.00 - 17.00 น.


                                  ศึกษานอกสถานที่ ( ร้านศึกษาภัณฑ์พาณิชย์ราชดำเนิน )

ที่อยู่   69 อาคาร 9 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร  กทม. 10200
วัน เวลาทำการ   : วันจันทร์ - วันเสาร์        09.00 น. - 17.00
ปิดทำการ           : วันอาทิตย์ และ วันหยุดนักขัตฤกษ์

การเดินทาง
รถโดยสายประจำทางสาย 179 > MRT>เรือ>เดิน






ภายใน ร้านศึกษาภัณฑ์พาณิชย์ราชดำเนิน



จบทริปการเดินทางของวันนี้







วันอาทิตย์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

การบันทึกครั้งที่ 12
วันจันทร์ ที่  22 พฤศจิกายน พ.ศ.2558
เวลาเรียน 13.00 - 17.00 น.


เข้าร่วมกิจกรรม  การอบรมเชิงปฏิบัติการ "แกตัวปั้มจากยางลบ"


โดยวิทยาการ  2 ท่าน คือ พี่สาและพี่มี้





อุปการณ์ที่ได้รับ
             1. ดินสอ
             2. มีดแกะสลัก
             3. ยางลบ
             4. คู่มือวิธีการทำ
             5. ไม้กระดานสำหรับรอง




                   เริ่มการอบรมด้วยการพูดถึงประวัติและที่มาของการแกะตัวปั้มจากยางลบ
พร้อมทั้งสาธิตวิธีการแกะสลักตัวปั้มในแบบต่างๆให้ดูเป็นตัวอย่างและให้นักศึกษาลงมือทำ



ผลงาน



วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

การบันทึกครั้งที่ 11
วันจันทร์ ที่  9 พฤศจิกายน พ.ศ.2558
เวลาเรียน 14.30 - 17.30 น.


                              อาจารย์มอบหมายงานให้นักศึกษาทำ   2  ชิ้น
                       1. ชาทเพลง
                       2. หนังสืออะไรเอ่ย?


   - ขั้นตอนการทำชาทเพลง  มีดังนี้
   
     1. ตัดกระดาษเป็นแนวนอนให้พอดีกับเนื้อเพลง


      2. เขียนเนื้อเพลงลงในกระดาษ โดยจะเว้นที่ไว้สำหรับวาดภาพแทนคำบางคำในเพลง
เช่น หากเป็นภาพไก่ก็จะเว้นไว้แล้วจึงวาดภาพไก่แทน



    3. วาดภาพแทนคำในเพลงและระบายสี


   4. ติดเทปกาวระหว่างแต่ละแผ่น
                                                                        ผลงาน



   - ขั้นตอนการทำหนังสืออะไรเอ่ย?   มีดังนี้

1. นำกระดาษมาเย็บเป็นเล่ม
2. หาตัวอักษรที่จะใช้ประกอบคำต่างๆ
3.วัดขนาดของตัวอักษรและตัดเป็นช่อง โดยไม่ตัดหน้าสุดท้าย


4.เขียนตามคำที่เรากำหนดในแต่ละหน้า
5.วาดภาพระบายสี



                                                                         ผลงาน


                                                                  


การบันทึกครั้งที่ 10
วันจันทร์ ที่  2 พฤศจิกายน พ.ศ.2558
เวลาเรียน 14.30 - 17.30 น.

                                           วัสดุเหลือใช้ที่ดิฉันเตรียมมาในวันนี้คือ กล่องวีต้า


                   สื่อการสอนที่ดิฉันจะประดิษดิ์คือ "รูปทรงหรรษา"  โดยมีวิธีการทำ
ดังนี้   1. ตัดกระดาษสีตามขนาดของกล่องวีต้าทั้ง 6 กล่องรวมกัน



               2. ตัดกระดาษสีต่างๆให้เป็นรูปทรงเรขาคณิต


              3. น้ำรูปทรงเรขาคณิตไปติดบนกระดาษที่เราตัดไว้แล้ว
              4. จากนั้นตัดเป็น 6 ช่อง ตามจำนวนของกล่องวีต้า
              5. ติดลงบนกล่องวีต้าทั้ง 6 ด้าน



            กิจกรรมสุดท้ายของวันนี้คือ การออกไปนำเสนอผลงานของแต่ละคนหน้าชั้นเรียน
1. ชื่อผลงาน  รูปทรงหรรษา
2. ใช้ในการเรียนการสอนเรื่องรูปทรงเรขาคณิตและการเรียนรู้เรื่องสีต่างๆ
3.ทำมาจากกล่องวีต้า
4. ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา





การบันทึกครั้งที่ 8
วันจันทร์ ที่  19 ตุลาคม พ.ศ.2558
เวลาเรียน 14.30 - 17.30 น.

                        เริ่มคาบเรียนด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายต่อจากสัปดาห์ที่แล้วให้เสร็จ


                       ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์


                      
                     งานชิ้นต่อมาให้นักศึกษาระบายสี พร้อมทั้งมีวงล้อวิวัฒนาการ
มาให้ใส่ไว้ตรงมุมขวาด้านบนของภาพ โดยที่เราจะตัดกระดาษที่วาดภาพและระบายสี
ให้เหมือนกับฉากหลังมาปิดไว้


               
                  สุดท้ายอาจารย์มอบหมายงานให้แต่ละกลุ่มนำกลับไประบายสีที่บ้านกลุ่มละ 1 ชุด




การบันทึกครั้งที่ 7
วันจันทร์ ที่  12 ตุลาคม พ.ศ.2558
เวลาเรียน 14.30 - 17.30 น.

                         การเรียนการสอนวันนี้เริ่มด้วยการมอบหมายงานจากอาจารย์ โดยการที่อาจารย์
แจกเอกสารให้นักศึกษากลุ่มละ 1 ชุด เพื่อช่วยกันระบายสีและประกอบกลไกการขยับต่างๆ
เอกสารมีดังนี้
                     1. เนื้อเรื่องของนิทาน "เด็กเลี้ยงแกะ"
                  
                    2. ชิ้นส่วนสำหรับการทำกลไกต่างๆ

                    3. ภาพนิทาน
   

                     ภาพการทำงานภายในกลุ่ม


                   ภาพผลงาน